เลือกภาษา

Thai Thai

ค้นหาข้อมูล

สื่อโซเซียลหน่วยงาน

เมนูหลัก

การป้องกันการทุจริต

การควบคุมภายใน

การบริหารจัดการความเสี่ยง

สถิติผู้เยี่ยมชม

1156969
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทุกวัน
1440
1204
5635
1146300
19095
45454
1156969

Your IP: 3.145.64.245
2024-11-22 06:02

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

  1. ด้านกายภาพ

          1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล

                   ตำบลคำเลาะ     ตั้งอยู่ในเขตอำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี โดยห่างจากที่ว่าการอำเภอไชยวานประมาณ 16 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้

                   ทิศเหนือ          จดตำบลบงเหนือ อำเภอสว่างแดนดิน,ตำบลท่าศิลา อำเภอส่องดาว จังหวัดกลนคร

                   ทิศตะวันออก     จดตำบลผาสุก อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี

                   ทิศใต้             จดตำบลบะยาว  อำเภอวังสามหมอ ,ตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี 

                   ทิศตะวันตก      จดตำบลไชยวาน ,ตำบลโพนสูง อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี

          1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

                   ตำบลคำเลาะ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับภูเขา  สภาพพื้นที่ ประกอบไปด้วยป่าไม้และลำห้วยต่างๆ  มีน้ำสะสมใต้ดินและมีแหล่งน้ำผิวดินอยู่มาก พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การเพาะปลูก

  • ลักษณะภูมิอากาศ

ตำบลคำเลาะ  มีลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู  ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้

ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแล้ง  แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น ประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคมจะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง 35-39 องศาเซลเซียส  ร้อนจัด  มีอุณหภูมิประมาณ  40  องศาเซลเซียสขึ้นไป

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม  แต่อาจเกิด   “ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ 1-2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม  แต่ในเขตตำบลคำเลาะไม่เคยเกิดอุทกภัยรุนแรง มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ  800  มิลลิเมตร

ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว 1-2 สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ ๑๕ องศา

          1.4 ลักษณะของดิน

                   ตำบลคำเลาะ  มีลักษณะดิน  โดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย  ประมาณ  75% ดินลูกรังประมาณ 15%  ลักษณะดินในพื้นที่เป็นดินเหนียวประมาณ 10%

          1.5 ลักษณะของแหล่งน้ำ

                   ตำบลคำเลาะ  มีลักษณะของแหล่งน้ำ  เป็นแหล่งน้ำสาธารณะ ลำห้วย  มีแหล่งน้ำที่ใช้สำหรับ  อุปโภค-บริโภค  จำนวน  ๕  แห่ง   แหล่งน้ำทั้ง ๕ แห่งเคยเป็นแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและองค์การบริหารส่วนตำบลได้ดำเนินการปรับปรุงก่อสร้างขึ้นใหม่เพื่อเพียงพอกับการอุปโภคและบริโภคของประชาชน  ดังนี้

                   ห้วย/ลำธาร      4        แห่ง     สระน้ำ            1        แห่ง

                   หนองน้ำ/บึง     10      แห่ง     บ่อน้ำตื้น         -         แห่ง

                   ลำคลอง          -         แห่ง     บ่อบาดาล        -         แห่ง

                   บึง                -         แห่ง     อ่างเก็บน้ำ        -         แห่ง

                   แม่น้ำ             -         แห่ง     ฝาย               -         แห่ง

                   อื่นๆ (ระบุ)       -         แห่ง     เหมือง            -         แห่ง

          1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้

                   ตำบลคำเลาะ  มีลักษณะของไม้และป่าไม้  เป็นลักษณะเป็นป่าเบญจพรรณ มีต้นไม้ที่ชาวบ้านปลูกลักษณะของไม้เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ

  1. ด้านการเมืองการปกครอง

          2.1 เขตการปกครอง

                   ตำบลคำเลาะ  แบ่งเขตการปกครองออกเป็นทั้งหมด  11  หมู่บ้าน  ดังนี้

                   หมู่ที่ 1  บ้านคำเลาะ

                   หมู่ที่ 2  บ้านคำ

                   หมู่ที่ 3  บ้านคำบอน

                   หมู่ที่ 4  บ้านหนองแวงตาด

                   หมู่ที่ 5  บ้านดงพัฒนา

                   หมู่ที่ 6  บ้านวังชมภู

                   หมู่ที่ 7  บ้านโนนม่วงหวาน

                   หมู่ที่ 8  บ้านวังงามพัฒนา

                   หมู่ที่ 9  บ้านหนองไม้ตาย

                   หมู่ที่ 10  บ้านคำมี

                   หมู่ที่ 11  บ้านน้ำทิพย์

          2.2 เขตการเลือกตั้ง

ตำบลคำเลาะ  ได้แบ่งเขตการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ออกเป็น  1  เขตเลือกตั้ง  และสมาชิกสภาออกเป็น  11  เขต ดังนี้

          - นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ

- เขตเลือกตั้งที่  1  ประกอบด้วย  หมู่ที่  1-11

          - สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล

- เขตเลือกตั้งที่  1  ประกอบด้วย  หมู่ที่  1  บ้านคำเลาะ

- เขตเลือกตั้งที่  2  ประกอบด้วย  หมู่ที่  2  บ้านคำ

- เขตเลือกตั้งที่  3  ประกอบด้วย  หมู่ที่  3  บ้านคำบอน

- เขตเลือกตั้งที่  4  ประกอบด้วย  หมู่ที่  4  บ้านหนองแวงตาด

- เขตเลือกตั้งที่  5  ประกอบด้วย  หมู่ที่  5  บ้านดงพัฒนา

- เขตเลือกตั้งที่  6  ประกอบด้วย  หมู่ที่  6  บ้านวังชมภู

- เขตเลือกตั้งที่  7  ประกอบด้วย  หมู่ที่  7  บ้านโนนม่วงหวาน

- เขตเลือกตั้งที่  8  ประกอบด้วย  หมู่ที่  8  บ้านวังงามพัฒนา

- เขตเลือกตั้งที่  9  ประกอบด้วย  หมู่ที่  9  บ้านหนองไม้ตาย

- เขตเลือกตั้งที่  10  ประกอบด้วย  หมู่ที่  10  บ้านคำมี

- เขตเลือกตั้งที่  11  ประกอบด้วย  หมู่ที่  11  บ้านน้ำทิพย์

 

  1. ประชากร

          3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

 

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านคำเลาะ

347

328

675

2

บ้านคำ

351

301

652

3

บ้านคำบอน

355

350

705

4

บ้านหนองแวงตาด

432

430

862

5

บ้านดงพัฒนา

427

413

840

6

บ้านวังชมภู

556

544

1,100

7

บ้านโนนม่วงหวาน

553

526

1,079

8

บ้านวังงามพัฒนา

386

386

772

9

บ้านหนองไม้ตาย

288

271

559

10

บ้านคำมี

225

206

431

11

บ้านน้ำทิพย์

328

292

620

รวม

4248

4047

8,295

 

3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร

 

หญิง

 

ชาย

หมายเหตุ

จำนวนประชากรเยาวชน

594

647

อายุต่ำกว่า 18 ปี

จำนวนประชากร

1,961

2,033

อายุ 18-60 ปี

จำนวนประชากรผู้สูงอายุ

424

310

อายุมากกว่า 60 ปี

รวม

2,979

2,990

 

 

  1. สภาพสังคม

          4.1 การศึกษา

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรอายุ 15-60 ปีเต็ม ร้อยละ 99  อ่าน  เขียนภาษไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้  เด็กอายุ  6-14  ปี  ร้อยละ  100 ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9  ปี  ได้เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  หรือเทียบเท่า และที่ไม่ได้เรียนต่อมีงานทำ ร้อยละ 80  ด้านการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี  ปัญหาคือ  ยังไม่สามารถที่จะแข่งขันกับเมืองใหญ่ๆ ได้  การแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  ได้จัดกิจกรรมให้กับเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  การสนับสนุนอาหารเสริมนม  อาหารกลางวัน ในกับทางโรงเรียนในเขตพื้นที่ และร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆ กับทางโรงเรียน  ตำบลคำเลาะ  มีจำนวนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนดังต่อไปนี้

                            

-  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน  7  ศูนย์  ดังนี้

  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคำเลาะ
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดสำราญ
  3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคำบอน
  4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองแวงตาด
  5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงพัฒนา
  6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังชมภู
  7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนม่วงหวาน

-  โรงเรียน  จำนวน  7  โรงเรียน  ดังนี้

  1. โรงเรียนบ้านคำเลาะ
  2. โรงเรียนบ้านคำน้ำทิพย์
  3. โรงเรียนบ้านคำบอน
  4. โรงเรียนบ้านหนองแวงตาด
  5. โรงเรียนบ้านดงพัฒนา
  6. โรงเรียนบ้านวังชมภู
  7. โรงเรียนสยามกลการ 3

          4.2 สาธารณสุข

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี  มีการคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง  โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน  ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน  โรคเอดส์  โรคไข้เลือดออก  มือ-ปาก-เท้าในเด็ก และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล  ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี  การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล  ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง  ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี  แต่ต้องเป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี  จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ  การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม  การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ  และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ  ปัญหาเหล่านี้องค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  พยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข  โดยร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำเลาะ  จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา 

(1)  หน่วยงานด้านสาธารณสุข

                             -  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล  จำนวน  1   แห่ง    

                             -  ศูนย์บริการสาธารณสุข   จำนวน    -     แห่ง

                             -  คลินิกเอกชน  จำนวน  -  แห่ง

                             -  สถานพยาบาล  จำนวน  2  แห่ง

          4.3 อาชญากรรม

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี  มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหาคือจากข้อมูลที่สำรวจพบว่ามีบางครัวเรือน  ที่ไม่มีการป้องกันอุบัติเหตุ  อาชญากรรม  วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด  คือการทำป้ายลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ  ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน  แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี  งานมหรสพ  เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก  การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน  ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ  ผลเสียหาย  และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท  การขอความร่วมมือไปยังผู้นำการขอกำลังจากผู้นำ  อปพร.  เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง  แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้  ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางองค์การบริหารส่วนตำบลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้

          4.4 ยาเสพติด

ปัญหายาเสพติดในชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบล  ทางสถานีตำรวจภูธรอำเภอไชยวาน  ได้เข้ามาสำรวจพร้อมดำเนินการเอง  ทั้งนี้ หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น  เช่น 

การณรงค์  การประชาสัมพันธ์  การแจ้งเบาะแส  การฝึกอบรมให้ความรู้ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่  ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด

          4.5 การสังคมสงเคราะห์

องค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  ได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้

  1. ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ 
  2. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
  3. ประสานการทำบัตรผู้พิการ
  1. ระบบบริการพื้นฐาน

          5.1 การคมนาคมขนส่ง

ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  มีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ตำบลคำเลาะ  ที่เป็นถนนลาดยาง  ถนนลูกรัง  และถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก  โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนนลาดยางและคอนกรีตเสริมเหล็กทุกสาย  ปัญหาคือ องค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากงบประมาณมีน้อยและบางพื้นที่ยังไม่เป็นที่สาธารณะ  จะดำเนินการได้ก็ต่อเมื่อต้องเป็นที่สาธารณะ  ปัจจุบันตำบลคำเลาะมีเส้นทางคมนาคม

 

          5.2 การไฟฟ้า

การขยายเขตไฟฟ้า  ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้เกือบครัวเรือนจะไม่มีไฟฟ้าใช้เฉพาะครัวเรือนที่อาศัยอยู่ตามไร่-นา  คิดเป็น 90 เปอร์เซ็นต์  ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด  เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ  องค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  จึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ  ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่  และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร  ทั้งนี้  องค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน

          5.3 การประปา

องค์การบริหารส่วนตำบลมีกิจการประปาเป็นขององค์การบริหารส่วนตำบลเอง แต่ยังไม่สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน  ปัญหาคือ  มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาไม่ไหลและน้ำประปามีใช้ไม่เพียงพอ สาเหตุเนื่องจากกำลังส่งของน้ำน้อย การขยายเขตของบ้านเรือนมีเพิ่มมากขึ้นทุกปี และน้ำจะมีใช้ไม่เพียงพอในช่วงฤดูแล้งช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม  ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ  การแก้ปัญหาคือ การพิจารณาโครงการต่างๆ  ที่ไม่สามารถดำเนินการได้นั้น  เช่น  โครงการก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน  โครงการก่อสร้างถังน้ำกลางประจำหมู่บ้าน ฯลฯ องค์การบริหารส่วนตำบลก็ได้นำบรรจุในแผนพัฒนาสี่ปี  และแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น  (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) เพื่อขออุดหนุนจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง  เมื่อมีงบประมาณและความจำเป็นก็สามารถดำเนินโครงการได้ต่อเนื่อง  เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนต่อไป

          5.4 โทรศัพท์

(1)  จำนวนชุมสายโทรศัพท์        จำนวน    3  แห่ง

          5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์

(1)  มีไปรษณีย์  จำนวน  ๑  แห่ง  ให้บริการ เวลา  08.00-14.00 น.  ในวันจันทร์ – เสาร์     (วันเสาร์ครึ่งวัน)  หยุดวันอาทิตย์

 

  1. ระบบเศรษฐกิจ

          6.1 การเกษตร

ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ  ได้แก่  ข้าว ยางพารา ไผ่เลี้ยง มันสำปะหลัง ถั่วลิสง  พริก หอมแดง  ดังนี้

-  อาชีพเกษตรกรรม      ร้อยละ       80 ของจำนวนประชากรทั้งหมด        

-  อาชีพเลี้ยงสัตว์          ร้อยละ       5   ของจำนวนประชากรทั้งหมด     

-  อาชีพรับจ้าง            ร้อยละ       8   ของจำนวนประชากรทั้งหมด      

-  อาชีพค้าขาย            ร้อยละ       9   ของจำนวนประชากรทั้งหมด

          6.2 การประมง

(ในองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะไม่มีการประมง)

  • การปศุสัตว์

เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น  การเลี้ยงไก่  เป็ด  โค  สุกร  กระบือ  จำนวนสัตว์ในพื้นที่โดยประมาณ  ดังนี้

  • โค 900     ตัว        
  • กระบือ 40   ตัว              
  • สุกร 500 ตัว
  • เป็ด 300 ตัว        
  • ไก่ 6,000  ตัว                
  • อื่นๆ

          6.4 การบริการ

โรงแรม                     -         แห่ง

ร้านอาหาร                 20      แห่ง

โรงภาพยนตร์              -         แห่ง

สถานีขนส่ง                -         แห่ง

         

 

6.5 การท่องเที่ยว

ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  มีแหล่งท่องเที่ยวจำนวน  2  แห่ง  คือ  น้ำตกตาดใหญ่  และวัดป่าภูวังงาม  ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน  เช่น  การจัดงานประเพณีต่างๆ  การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ

          6.6 อุตสาหกรรม

(ในองค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะไม่มีการทำอุตสาหกรรม)

          6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

การพาณิชย์

ธนาคาร                    -         แห่ง     สถานีบริการน้ำมัน (ปั๊มหลอด) 15           แห่ง

บริษัท                      -         แห่ง     ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า  -     แห่ง

ห้างหุ้นส่วนจำกัด          -         แห่ง     ตลาดสด          -         แห่ง

ร้านค้าต่างๆ               40      แห่ง     โรงฆ่าสัตว์                 5        แห่ง

ซุปเปอร์มาเก็ต             -         แห่ง

กลุ่มอาชีพ

มีกลุ่มอาชีพ  จำนวน  12  กลุ่ม

  1. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 1
  2. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 2
  3. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 3
  4. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 4
  5. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 5
  6. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 6
  7. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 7
  8. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 8
  9. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 9
  10. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 10
  11. กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมเลี้ยงโคเนื้อ หมู่ที่ 11

          6.8 แรงงาน

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ประชากรที่มีอายุ  15-60  ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ  95  เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ  73.99  ซึ่งสูงกว่ามาก  แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด  โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร  ประชากรอายุระหว่าง  25-50 ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่  รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ  ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม  บริษัท  ห้างร้านใหญ่ๆ  เพราะในพื้นที่มีโรงงานอุตสาหกรรมเพียงที่เดียว การจ้างแรงงานน้อย  เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย  ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้

  1. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

          7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน

          7.2 ข้อมูลด้านการเกษตร

(1)  บ้านคำเลาะ หมู่ที่ 1 

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,500  ไร่ ทำการเกษตรดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

 122 ครัวเรือน

  1,003    ไร่

 400   กก./ไร่

 3,500  บาท/ไร่

  3,800 บาท/ไร่

¨ นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา    .

  11  ครัวเรือน

   37      ไร่

  30      กก./ไร่

     -        บาท/ไร่

    450   บาท/ไร่

สวน  หอมแดง      .

  8   ครัวเรือน

    10      ไร่

   200    กก./ไร่

   1,350     บาท/ไร่

 50,000  บาท/ไร่

สวน   หน่อไม้เลี้ยง              .

  14  ครัวเรือน

  30       ไร่

   20     กก./ไร่

      -       บาท/ไร่

  400    บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

þ  ไร่มันสำปะหลัง

   2   ครัวเรือน

   6       ไร่

   3,500กก./ไร่

   -    บาท/ไร่

   7,000 บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  ไร่ถั่วลิสง

   17 ครัวเรือน

   21       ไร่

  800  กก./ไร่

   3,500  บาท/ไร่

 16,000 บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่


(2)  บ้านคำ หมู่ที่  2 

มีพื้นที่ทั้งหมด  330  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

   35 ครัวเรือน

   202     ไร่

  400   กก./ไร่

 4,000    บาท/ไร่

 3,800  บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

             บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ยางพารา               .

  20 ครัวเรือน

   30      ไร่

    -       กก./ไร่

     -        บาท/ไร่

     -       บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้เลี้ยง               .

 130ครัวเรือน

   80     ไร่

   30    กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

   600    บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨  ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่มันสำปะหลัง

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                 .

   2   ครัวเรือน

  30         ไร่

 900     กก./ไร่

  4,000    บาท/ไร่

 1,800   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

(3)  บ้านคำบอน  หมู่ที่  3

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,560 ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

 94  ครัวเรือน

 1,500     ไร่

  500    กก./ไร่

  4,500   บาท/ไร่

  4,750   บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา              .

  15  ครัวเรือน

  450      ไร่

    -       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

   -         บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้เลี้ยง               .

  50   ครัวเรือน

 150      ไร่

   40       กก./ไร่

     -        บาท/ไร่

  800      บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨  ไร่อ้อย

   5   ครัวเรือน

   5         ไร่

   1,000   กก./ไร่

   5,000    บาท/ไร่

   8,000   บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨ ไร่มันสำปะหลัง

   1   ครัวเรือน

   8         ไร่

   3,000  กก./ไร่

   3,500    บาท/ไร่

    6,000   บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 25    ครัวเรือน

  20         ไร่

   800     กก./ไร่

  3,500     บาท/ไร่

 16,000    บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨ อื่นๆ โปรดระบุ

....................

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

(4)  บ้านหนองแวงตาด  หมู่ที่ 4

มีพื้นที่ทั้งหมด  5,454 ไร่ ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

 100   ครัวเรือน

  4,000     ไร่

 450     กก./ไร่

  4,000    บาท/ไร่

 4,275     บาท/ไร่

¨ นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน    ยางพารา             .

  10   ครัวเรือน

   50       ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน    ผัก             .

  50   ครัวเรือน

 100      ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

             บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨  ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่มันสำปะหลัง

   1   ครัวเรือน

   3         ไร่

   3,000  กก./ไร่

   3,500    บาท/ไร่

   6,000    บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

   ถั่วลิสง                  .

  10    ครัวเรือน

   20        ไร่

 1,000    กก./ไร่

 4,500     บาท/ไร่

 20,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

 

(๕)  บ้านดงพัฒนา หมู่ที่ 5

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,285  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

 62    ครัวเรือน

  1,000      ไร่

  400    กก./ไร่

 1,500     บาท/ไร่

  3,800     บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน    ยางพารา             .

   4    ครัวเรือน

  20           ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน   หอมแดง              .

   1   ครัวเรือน

     1        ไร่

   2,000   กก./ไร่

  1,500      บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน    พริก            .

  2     ครัวเรือน

  3          ไร่

  1,000    กก./ไร่

 10,000     บาท/ไร่

 30,0000  บาท/ไร่

สวน      หน่อไม้           .

  28     ครัวเรือน

  112         ไร่

   50     กก./ไร่

     -        บาท/ไร่

 1,000     บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨  ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  ไร่มัน

  1    ครัวเรือน

    5        ไร่

  3,000    กก./ไร่

  1,500      บาท/ไร่

  6,000   บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

  5     ครัวเรือน

  10         ไร่

  800      กก./ไร่

 4,000      บาท/ไร่

 16,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

(๖)  บ้านวังชมภู  หมู่ที่  6

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,945  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

  81   ครัวเรือน

 1,255        ไร่

  400    กก./ไร่

 3,500       บาท/ไร่

 3,800     บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา               .

  5    ครัวเรือน

   20        ไร่

 30       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

  450        บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้               .

  60    ครัวเรือน

    700     ไร่

 4,500    กก./ไร่

 3,700      บาท/ไร่

 9,000     บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  ไร่ข้าวโพด

 10    ครัวเรือน

   10        ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่มันสำปะหลัง

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 10    ครัวเรือน

   50        ไร่

 1,000     กก./ไร่

 4,000      บาท/ไร่

 20,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

       ครัวเรือน  

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

(7)  บ้านโนนม่วงหวาน  หมู่ที่  7

มีพื้นที่ทั้งหมด  590  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

  50   ครัวเรือน

 350        ไร่

  430    กก./ไร่

 3,500       บาท/ไร่

 4,085    บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา               .

  7    ครัวเรือน

   30        ไร่

 -       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

  -        บาท/ไร่

สวน  หอมแดง               .

  10    ครัวเรือน

    20     ไร่

 200   กก./ไร่

 1,300      บาท/ไร่

 50,000     บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้               .

   10    ครัวเรือน

    30       ไร่

  1,600    กก./ไร่

 10,000    บาท/ไร่

32,000    บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่มันสำปะหลัง

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 7    ครัวเรือน

   5        ไร่

 1,000     กก./ไร่

 4,000      บาท/ไร่

 20,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่


(8)  บ้านวังงามพัฒนา  หมู่ที่  8

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,560  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

  109  ครัวเรือน

 950        ไร่

  400    กก./ไร่

 3,500       บาท/ไร่

 3,800    บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา               .

  15    ครัวเรือน

   47        ไร่

 -       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

  -        บาท/ไร่

สวน  หอมแดง               .

  20    ครัวเรือน

    10     ไร่

 3,000   กก./ไร่

 10,000      บาท/ไร่

 75,000     บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้               .

   20    ครัวเรือน

   40       ไร่

  1,200    กก./ไร่

 15,000    บาท/ไร่

24,000    บาท/ไร่

สวน   พริก              .

  15    ครัวเรือน

   20        ไร่

 1,000    กก./ไร่

     -        บาท/ไร่

 12,000    บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  ไร่มัน

   4    ครัวเรือน

   10       ไร่

  3,000   กก./ไร่

 1,500       บาท/ไร่

 6,000      บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 30   ครัวเรือน

  30       ไร่

 700     กก./ไร่

 4,000      บาท/ไร่

 14,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่


(9)  บ้านหนองไม้ตาย  หมู่ที่  9

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,560  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

  94  ครัวเรือน

 684        ไร่

  400    กก./ไร่

 4,000       บาท/ไร่

 3,800    บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา               .

  3    ครัวเรือน

   27       ไร่

 -       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

  -        บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้               .

   50   ครัวเรือน

   150      ไร่

  1,200    กก./ไร่

 15,000    บาท/ไร่

48,000    บาท/ไร่

สวน                 .

          ครัวเรือน

           ไร่

        -   กก./ไร่

.............-บาท/ไร่

        -     บาท/ไร่

สวน                 .

          ครัวเรือน

           ไร่

        -   กก./ไร่

.............-บาท/ไร่

        -     บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 15   ครัวเรือน

  20       ไร่

 800     กก./ไร่

 3,800      บาท/ไร่

 16,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

          (10)  บ้านคำมี  หมู่ที่ 10

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,479  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

  110 ครัวเรือน

 1,210       ไร่

  400    กก./ไร่

 3,500     บาท/ไร่

 3,800    บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา               .

  3    ครัวเรือน

   27        ไร่

 -       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

  -        บาท/ไร่

สวน  หน่อไม้               .

   50   ครัวเรือน

   150      ไร่

  1,200   กก./ไร่

 15,000    บาท/ไร่

24,000    บาท/ไร่

สวน                 .       

          ครัวเรือน

           ไร่

        -   กก./ไร่

.............-บาท/ไร่

        -     บาท/ไร่

สวน                 .       

          ครัวเรือน

           ไร่

        -   กก./ไร่

.............-บาท/ไร่

        -     บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 15   ครัวเรือน

  20       ไร่

 800     กก./ไร่

 3,800     บาท/ไร่

 16,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

(11)  บ้านน้ำทิพย์  หมู่ที่ 11

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,500  ไร่  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

þ ในเขตชลประทาน

  112 ครัวเรือน

 1,000       ไร่

  400    กก./ไร่

 4,000     บาท/ไร่

 3,800    บาท/ไร่

¨นอกเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา               .

  35    ครัวเรือน

   200       ไร่

 -       กก./ไร่

    -         บาท/ไร่

  -        บาท/ไร่

สวน  หอมแดง               .

   10   ครัวเรือน

   20      ไร่

  2,000   กก./ไร่

 15,000    บาท/ไร่

50,000    บาท/ไร่

สวน                 .       

          ครัวเรือน

           ไร่

        -   กก./ไร่

.............-บาท/ไร่

        -     บาท/ไร่

สวน                 .       

          ครัวเรือน

           ไร่

        -   กก./ไร่

.............-บาท/ไร่

        -     บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  ไร่ข้าวโพด

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  อื่นๆ โปรดระบุ

  ถั่วลิสง                   .

 70   ครัวเรือน

  40       ไร่

 1,000     กก./ไร่

 4,500     บาท/ไร่

 20,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 

7.3 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร

(1)  บ้านคำเลาะ หมู่ที่ 1 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

 

P

 

P

50%

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(2)  บ้านคำ หมู่ที่ 2 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

þ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)   ห้วยน้ำคำ   .

6.2)   ห้วยยาง  .

6.3)                .

 

1

2

 

P

 

 

P

 

P

 

 

P

 

80%

50%

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

80%

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(3)  บ้านคำบอน  หมู่ที่ 3 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

P

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

þ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)   กุดปลาข่อ   .

6.2)                    .

6.3)                .

 

2

 

 

P

 

 

P

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(4)  บ้านหนองแวงตาด หมู่ที่ 4 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

P

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

þ 4. หนองน้ำ/บึง

2

P

 

P

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                    .

6.2)                    .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

 

P

 

P

50%

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(5)  บ้านดงพัฒนา  หมู่ที่ 5 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

 

P

 

P

62%

þ 2. ห้วย/ลำธาร

2

 

P

 

P

62%

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

þ 4. หนองน้ำ/บึง

3

 

P

 

P

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                    .

6.2)                    .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

 

P

 

P

40%

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

 

 

 

 

 

 

               

  

(6)  บ้านวังชมภู หมู่ที่ 6 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 2. ห้วย/ลำธาร

2

P

 

P

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

þ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)    ห้วยยาง      .

6.2)                    .

6.3)                .

 

2

 

 

P

 

 

P

 

45%

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(7)  บ้านโนนม่วงหวาน หมู่ที่ 7 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

P

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

þ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)    กุดชีเฒ่า      .

6.2)                    .

6.3)                .

 

2

 

P

 

 

P

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(8)  บ้านวังงามพัฒนา  หมู่ที่ 8 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

P

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

þ 4. หนองน้ำ/บึง

2

P

 

P

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                    .

6.2)                    .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

 

 

 

 

 

 

               

 

(9)  บ้านหนองไม้ตาย  หมู่ที่ 9 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

P

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

þ 4. หนองน้ำ/บึง

2

P

 

P

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                    .

6.2)                    .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

þ 4. สระ

1

P

 

P

 

 

¨5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(10)  บ้านคำมี  หมู่ที่ 10

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 2. ห้วย/ลำธาร

1

P

 

P

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

þ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)    ห้วยยาง          .

6.2)                    .

6.3)                .

 

2

 

 

P

 

 

P

 

40%

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

(11)  บ้านน้ำทิพย์  หมู่ที่ 11

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

-

-

-

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

P

 

P

 

 

¨ 2. ห้วย/ลำธาร

 

 

 

 

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

þ 4. หนองน้ำ/บึง

2

P

 

P

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                    .

6.2)                    .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

þ 5. คลองชลประทาน

1

P

 

P

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

 

 

 

 

 

 

               

         

7.4 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)

(1)  บ้านคำเลาะ  หมู่ที่  1 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

70%

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

70%

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

50%

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(2)  บ้านคำ  หมู่ที่  2 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(3)  บ้านคำบอน  หมู่ที่  3 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

P

 

P

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(4)  บ้านหนองแวงตาด  หมู่ที่  4 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(5)  บ้านดงพัฒนา  หมู่ที่  5 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

P

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

P

 

P

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(6)  บ้านวังชมภู   หมู่ที่  6 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

P

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(7)  บ้านโนนม่วงหวาน  หมู่ที่  7 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(8)  บ้านวังงามพัฒนา  หมู่ที่  8 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(9)  บ้านหนองไม้ตาย  หมู่ที่  9 

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

P

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

P

 

P

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(10)  บ้านคำมี  หมู่ที่  10

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(11)  บ้านน้ำทิพย์  หมู่ที่  11

มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

P

 

P

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

P

 

P

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

P

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

P

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

  1. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

          8.1 การนับถือศาสนา

-  ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ  ร้อยละ   100

                             วัด                8    แห่ง                  

                             สำนักสงฆ์        9    แห่ง

          8.2 ประเพณีและงานประจำปี

-  ประเพณีวันขึ้นปีใหม่                       ประมาณเดือน    มกราคม

-  ประเพณีบุญเทศน์มหาชาติ                ประมาณเดือน    เมษายน

-  ประเพณีวันสงกรานต์                      ประมาณเดือน    เมษายน

-  ประเพณีสืบสานบุญบั้งไฟ                  ประมาณเดือน   พฤษภาคมถึงมิถุนายน

-  ประเพณีบุญกฐิน                           ประมาณเดือน    ตุลาคม-พฤศจิกายน

-  ประเพณีวันลอยกระทง                    ประมาณเดือน    พฤศจิกายน

          8.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ประชาชนในเขตตำบลคำเลาะได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ได้แก่  วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน 

ภาษาถิ่น  ส่วนมากร้อยละ 100 % พูดภาษาอีสาน

          8.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

ประชาชนในเขตตำบลคำเลาะ  ได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่ายบ้าง ได้แก่  เสื่อที่ทอจากต้นกก เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่ ปลาร้า

 

 

  1. ทรัพยากรธรรมชาติ

          9.1 น้ำ

น้ำที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค  เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำประปา ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย  ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งเป็นน้ำคำ  ไม่สามารถใช้ดื่มและอุปโภคได้

          9.2 ป่าไม้

ในเขตตำบลคำเลาะ  มีลักษณะของป่าดงดิบทั่วไป มักเป็นป่าทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ชั้นบนซึ่งส่วนใหญ่ มักมีลำต้นสูง และมีขนาดใหญ่ ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้ขนาดเล็กและขนาดกลาง ซึ่งสามารถขึ้นอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้ พื้นป่ามักรกทึบ และประกอบด้วยไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก ระกำ หวาย ไม้ไผ่ต่างๆ บนลำต้นมีพันธุ์ไม้จำพวกเถาวัลย์ในป่าชนิดนี้มากกว่าในป่าชนิดอื่นๆ ไม้พื้นล่าง ที่มีในป่าชนิดนี้มี ไม้ไผ่  หลายชนิด

          9.3 ภูเขา

                   ในเขตพื้นที่ตำบลคำเลาะ  มีลักษณะเป็นภูเขาสลับกับที่ราบสูง

          9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

ในพื้นที่ของตำบลคำเลาะ  ส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย  ร้านค้า  สถานประกอบการ  ตามลำดับ  และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่  ก็ได้แก่  ดิน  น้ำ  ต้นไม้  อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ เนื่องจากว่าพื้นที่บางส่วนเป็นดินเค็ม  น้ำใต้ดินก็เป็นน้ำคำ  หรือไม่ก็เป็นน้ำกร่อย  ไม่สามารถที่จะนำน้ำจากใต้ดินมาใช้ในการอุปโภค-บริโภคได้ได้ ต้องอาศัยน้ำดิบจากแหล่งอื่น  และน้ำฝนน้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน  มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ  ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น  เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นของประชาชน  เอกชน  และงบประมาณในการบริหารงานมีน้อย  การแก้ไขปัญหา องค์การบริหารส่วนตำบลคำเลาะ  ได้ส่งโครงการไปขอรับสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่างๆ  เช่น  โครงการก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน  โครงการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่างๆ ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของตำบลให้ร่มรื่นสวยงาม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน  ฯลฯ

ประกาศจัดซื้อจัดจ้างจากระบบ E-GP ของกรมบัญชีกลางทั้งหมด(โดยเลือกหัวข้อ)

backgroudkhamlo4

จัดการ : การอนุญาตใช้งาน Cookies

เว็บไซต์ www.khamlo.go.th มีการใช้งานเทคโนโลยีคุกกี้หรือเทคโนโลยีอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกันกับคุกกี้ บนเว็บไซต์ของเรา โปรดศึกษานโยบายการใช้คุกกี้และนโยบายความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ก่อนใช้บริการเว็บไซต์ ได้ที่ลิงค์ด้านข้าง...